หลักสูตรคอมพิวเตอร์
วันอาทิตย์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558
หลักการเรียนรู้12ประการที่ครูควรรู้
ที่มา pattern : http://health.kapook.com/view56342.html
โมเดลปลาทู
โมเดลปลาทูมีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ ส่วนเป้าหมาย (หัวปลา) ส่วนกิจกรรม (ตัวปลา) และ ส่วนการจดบันทึก (หางปลา)
"หัวปลา" (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนเป้าหมาย ได้แก่ ปณิธานความมุ่งมั่น วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทำ KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ
"ตัวปลา" (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ส่วนกิจกรรม ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญ ซึ่ง “คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม
"หางปลา" (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู้” หรือ “ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การจดบันทึก เป็นการจดบันทึกความรู้ เทคนิค เคล็ดลับในการทำงานที่ได้มาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรบันทึกในหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ผังมโนทัศน์ (Mind Map) และรูปแบบอื่นๆ ให้สมาชิกในองค์กรเข้าถึง เอาไปปรับใช้ได้ตลอดเวลา และเก็บคลังความรู้เหล่านี้ในรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology - ICT) ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป
อ้างอิง : http://www.lib.su.ac.th/km/index.php/kmis
"หัวปลา" (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนเป้าหมาย ได้แก่ ปณิธานความมุ่งมั่น วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทำ KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ
"ตัวปลา" (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ส่วนกิจกรรม ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญ ซึ่ง “คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม
"หางปลา" (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู้” หรือ “ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การจดบันทึก เป็นการจดบันทึกความรู้ เทคนิค เคล็ดลับในการทำงานที่ได้มาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรบันทึกในหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ผังมโนทัศน์ (Mind Map) และรูปแบบอื่นๆ ให้สมาชิกในองค์กรเข้าถึง เอาไปปรับใช้ได้ตลอดเวลา และเก็บคลังความรู้เหล่านี้ในรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology - ICT) ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป
อ้างอิง : http://www.lib.su.ac.th/km/index.php/kmis
วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2558
การจัดการความรู้
จากการที่อาจารย์ให้เพื่อนๆนั้นได้ออกไปพูดเล่าประสบการณ์เรื่องราวต่างๆ โดยให้แต่ละคนนั้นได้ใช้เวลาในการพูด5-10นาที แต่ละคนก็ได้เล่าเรื่องที่ตนเองอยากจะเล่า ทั้งในเรื่องของการทำงานในช่วง ปิดเทอมหรือการใช้ชีวิตในมหาลัย และเรื่องต่างๆ การที่เพื่อนออกไปพูดนั้นทำให้เราที่เป็นผู้ฟังได้รับความรู้จากประสบการณ์ของเพื่อน เมื่อตัวเราออกไปเล่าให้เพื่อนฟังบ้าง เพื่อนก็ได้รับความรู้จากเราเหมือนกัน เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างเพื่อนกับตัวเราซึ่งกันและกัน ทำให้ทราบความรู้นั้นเกิดขึ้นจากประสบการณ์ของเราของเพื่อน เมื่อเราแลกเปลี่ยนความรู้กันทำให้เกิดความรู้ใหม่ๆซึ่งเรานั้นสามารถนำความรู้เหล่านั้นมาลองปรับใช้กับตัวเรา เมื่อเราได้แลกเปลี่ยนความรู้แล้วเราก็นำความรู้ที่ได้รับมาถ่ายทอดลงสูหนังสื่อหรือบทความต่างๆเพื่อเพื่อเผยแพร่ความรู้ของเราให้ผู้อื่นนั้นเข้ามาศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน การจัดการความรู้นั้นช่วยทพให้เรานั้นรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์หรือสื่อมาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้คนอื่นสามารถเข้าถึงความรู้ที่เราได้ถ่ายทอดลงไป
ได้ง่าย+
ที่มา: ภาพปกพื้นหลัง http://comcamp54.krunong.com/
ที่มา: ภาพปกพื้นหลัง http://comcamp54.krunong.com/
http://www.animeha.bth.cc/related-content.g?q=
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)